วิธีจัดการศัตรูพืช
มะเขือเทศ
  • ใช้พันธุ์พืชต้านทาน (หากมี) 
  • เตรียมดินให้ดีและตรวจวัดค่าความเป็นกรด-เบส (pH) ของดินก่อน
  • รักษาความชื้นในดินให้พอดี ไม่มีน้ำขัง
  • ใช้เมล็ดพันธุ์และต้นกล้าที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพ
  • แบ่งระยะปลูกให้เหมาะสมเพื่อการระบายอากาศและการรับแสงแดดที่ดี
  • ใช้ปุ๋ยและสารเคมีกำจัดแมลงอย่างเหมาะสม 
  • หลีกเลี่ยงการตัดแต่งใบที่มากเกินไป
  • ทำความสะอาดเครื่องมือด้วยสารฟอกขาว
  • กำจัดพืชที่ติดโรค, เศษซากพืชและวัชพืชออกจากแปลง เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
  • ปลูกพืชหมุนเวียน เพื่อป้องกันการสะสมของแมลงพาหะ, เชื้อโรคพืช และคืนความอุดมสมบูรณ์แก่ดิน
Manage Disease
ควบคุมแมลงที่เป็นพาหะของโรค โดยการใช้ตาข่ายกันแมลง ฟิล์มคลุมดินสะท้อนแสง หรือ สเปรย์ฉีดฆ่าแมลง
สารออกฤทธิ์ การแบ่งกลุ่มสารเคมีตามกลไกการออกฤทธิ์* เพลี้ยอ่อน แมลงหวี่ขาว
ฟิโพรนิล 2B
แลมบ์ดา ไซฮาโลทริน 3A
ไดโนทีฟูแรน 4A
ไธอะมีโทแซม 4A
อะบาเม็กติน 6
คลอร์ฟีนาเพอร์ 13
คาร์แท็ป ไฮโดรคลอไรด์ 14
**สลับกลุ่มสารเคมีเพื่อป้องกันการดื้อยา
tab-icon
สารพิษจากเคมี
tab-icon
โรคเหี่ยวเขียว
tab-icon
โรคใบไหม้มะเขือเทศ
tab-icon
โรคใบจุดสีน้ำตาล
tab-icon
โรคใบจุดจากแบคทีเรีย
tab-icon
โรคใบจุดเป้ากระสุน
tab-icon
โรคใบหงิกเหลือง
tab-icon
โรคราแป้ง
tab-icon
โรคเน่าคอดิน
tab-icon
โรคใบด่างมะเขือเทศ
tab-icon
โรคใบจุดวงแหวนเนื้อเยื่อตาย
tab-icon
โรครากำมะหยี่
tab-icon
โรคโคนเน่าขาว หรือโรคราเม็ดผักกาด
tab-icon
โรคแคงเกอร์
tab-icon
โรคเหี่ยวเหลือง